22/04/2016
Knowledge
1.เพื่อให้เด็กสามารถช่วยเหลือตนเองได้ในชีวิตประจำวัน
2.ใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้ใกล้เคียงกับคนปกติมากที่สุด
3.เน้นการดูแลแบบองค์รวม ( Holistic Approach)
1. การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการศึกษา
- เพิ่มทักษะพื้นฐานทางสังคม การสื่อสารและทักษะทางความคิด
- เกิดผลดีในระยะยาว
- เน้นการเตรียมความพร้อมเพื่อให้เด็กสามารถใช้ในชีวิตประจำวันจริงๆแทนการฝึกแต่เพียงทักษะทางวิชาการ
- แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล ( Individualized Education Program ; IEP)
2.การฟื้นฟูสมรรถภาพทางสังคม
-การฝึกฝนทักษะในชีวิตประจำวัน
-การฝึกทักษะทางสังคม
-การสอนเรื่องราวมางสังคม
Picture Exchange Communication System (PECS)
การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ
1.ทักษะทางสังคม เด็กพิเศษที่ขาดทักษะทางสังคม ไม่ได้มีสาเหตุมาจากการขาดพ่อแม่
- กิจกรรมการเล่น การเล่นเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งต่อการเรียนรู้ทักษะทางสังคม
ยุทธศาสตร์การสอน
ครูเริ่มต้นจากการสังเกตเด็กแต่ละคนอย่างเป็นระบบ
จดบันทึก ทำแผน IEP
การกระตุ้นการเลียนแบบและการเอาอย่าง
-วางแผนกิจกรรมการเล่นไว้หลายๆอย่าง คำนึงถึงเด็กทุกๆคน ให้เด็กเล่นเป็นกลุ่มเล็กๆ 2-4 คน
- เด็กปกติทำหน้าที่เป็นครูให้เด็กพิเศษ
ครูปฏิบัติอย่างไรขณะเด็กเล่น
- อยู่ใกล้ๆ และเฝ้ามองอย่างสนใจ ยิ้มและพยักหน้าให้ ถ้าเด็กหันมาหาครู
-ไม่ชมเชยหรือสนใจเด็กเกินไป
-เอาวัสดุมาเพิ่ม เพื่อยืดเวลาเพิ่ม
-ให้ความคิดเห็นที่เป็นแรงเสริม
การให้แรงเสริมทางสังคมในบริบทที่เด็กเล่น
- ครูพูดชักชวนให้เด็กร่วมเล่นกับเพื่อน
- ทำโดยการพูดนำของครู
2. ทักษะทางภาษา
การออกเสียงผิด/พูดไม่ชัด
การพูดตกหล่น การใช้เสียงหนึ่งแทนอีกเสียง ติดอ่าง
การสอนตามเหตุการณ์
3. ทักษะการช่วยเหลือตนเอง
เรียนรู้การดำรงชีวิตโดยอิสระให้มากที่สุด การกินอยู่ การเข้าห้องน้ำ การแต่งตัว กิจวัตรต่างๆในชีวิตประจำวัน
4. ทักษะพื้นฐานทางการเรียน
การช่วยให้เด็กแต่ละคนเรียนรู้ได้ มีความรู้สึกดีต่อตนเอง อยากสำรวจอบากทดลอง
Application
สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการจัดรูปแบบการเรียนและส่งเสริมการเรียนรู้แบบเรียนร่วมได้อย่างเหมาะสมกับพัฒนาาการและทักษะด้านต่างของๆเด็กพิเศษให้ดีขึ้น
Self Evaluation
มาเรียนตรงเวลา ตั้งใจฟังขณะที่อาจารย์กำลังสอน
Evaluation for classmated
เพื่อนมาเรียนตรงเวลา ตั้งใจฟังขณะที่อาจารย์กำลังสอน แต่งกายถูกระเบียบ ไม่พูดคุยเสียงดัง
Evaluating teacher
แต่งกายมาสอนเหมาะสม สอนและอธิบายเนื้อหาได้ละเอียดเข้าใจง่าย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น